หมวดที่ ๓

สำนักงานสีเขียว (Green Office)

 

 

หมวดที่ ๓ การใช้ทรัพยากรและพลังงาน 

 

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐานการตรวจประเมิน
หมวด ๓ การใช้ทรัพยากรและพลังงาน
๓.๑ การใช้น้ำ
๓.๑.๑ มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้
(๑) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ
(๒) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น
(๓) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
(๔) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ

๓.๑.๑ สร้างความตระหนักแก่พนักงานให้มีส่วนร่วมในการประหยัดน้ำ ดังนี้
๑) มีการแต่งตั้งคณะทำงานการใช้พลังงานและทรัพยากร สำนักงานสีเขียว Green Office
๒) มีประกาศ มาตรการประหยัดพลังงาน
๒) มีแผ่นป้ายรณรงค์ประหยัดน้ำตามจุดบริการน้ำ
เอกสาร scan
- เอกสาร scan
เอกสาร scan

๓.๑.๒ กำหนดเวลาเปิดน้ำรถต้นไม้และสวนในช่วงเช้า (รูปประกอบ)

๓.๑.๓ มีการตั้งจุดใส่น้ำที่เหลือจากห้องประชุมมาใช้รดน้ำต้นไม้ในสวน (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

๓.๑.๔ มิเตอร์น้ำแยกตึกเก่า
- มีการดัดแปลงอุปกรณ์ ก๊อกน้ำในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ด้วยการต่อสายยางซิลิโคนให้ล้างได้สะอาดตรงจุด (เนื่องจากการล้างเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต้องใช้ก๊อกน้ำเฉพาะ)
- ก๊อกอ่างล้างหน้าแบบกด (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
*เนื่องจากน้ำที่ใช้เป็นน้ำประปาและบาดาล การใช้ตัวกรองน้ำติดตั้งที่ก๊อกน้ำอาจทำให้ก๊อกน้ำตันได้
- มีตารางตรวจเช็คอุปกรณ์ระบบน้ำประจำวัน แยกตามตึก (เอกสารscan)
- รูปภาพประกอบ

๓.๑.๒ มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
(๓) บรรลุเป้าหมาย
(๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
(๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย
เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
- เอกสารประกอบ
๓.๑.๓ ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)  
๓.๒ การใช้พลังงาน
๓.๒.๑ มาตรการหรือแนวทางใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้
(๑) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า
(๒) การกาหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด-ปิด เป็นต้น
(๓) การใช้พลังงานทดแทน
(๔) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
๓.๒.๑ สร้างความตระหนักให้พนักงานมีส่วนร่วมในการประหยัดไฟฟ้าในสำนักงานดังนี้
๑) มีประกาศ มาตรการประหยัดพลังงาน
๒) มีการรณรงค์ผ่านแผ่นป้ายประจำจุด และ application line กลุ่มสมาชิกสำนักงาน
๓) มีการขอความร่วมมือเจ้าหน้าที่ประจำฝ่ายงานช่วยกันตรวจสอบเวลาเปิดใช้ไฟฟ้าส่องสว่าง แอร์
- เอกสาร scan
- รูปภาพประกอบ
- มีประกาศ มาตรการประหยัดพลังงาน
- เปิดไฟทางเดินสำนักงาน เฉพาะช่วงเวลากลางคืน
- กำหนดเวลาเปิด-ปิดใช้ไฟส่องสว่าง แอร์ คอมพิวเตอร์ ในช่วงพักกลางวัน
- กำหนดเวลาเปิด-ปิดใช้กาน้ำร้อน รูปภาพประกอบ
- มีการติดตั้ง Timer Switch ในพื้นที่นอกอาคาร (สวน และไฟ sport light หน้าตึกเก่า) รูปประกอบ
- การติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ในพื้นที่อาคารสวนสมุนไพร (ระหว่างดำเนินการจัดซื้อ)
- มิเตอร์ไฟแยกตึกเก่า
- ฝ่ายพัสดุต้องสั่งซื้อและเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ประหยัดพลังงาน เบอร์ ๕
- มีการรณรงค์ลดใช้ลิฟต์โดยสาร
๓.๒.๒ มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(๓) บรรลุเป้าหมาย
(๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุเพื่อการปรับปรุง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย
เช่น เปรียบเทียบต่อจานวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
- เอกสารประกอบ
๓.๒.๓ ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน  
๓.๒.๔ มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้
(๑) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(๒) การวางแผนการเดินทาง
(๓) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
(๔) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน
๓.๒.๔ สร้างความตระหนึกและกำหนดมาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงให้พนักงานมีส่วนร่วมในการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง
๑) มีประกาศ มาตรการประหยัดพลังงาน
๒) สร้างจิตสำนึกให้พนักงานขับรถ ขับขี่ด้วยความปลอดภัย และใช้ความเร็วอัตราคงที่
๓) ใช้สมาร์ทโฟนในการติดต่อสื่อสารกับพนักงานขับรถในการรับงาน และ ใช้ Google map แจ้งเส้นทางการเดินทางแทนการพิมพ์กระดาษแสดงจุดหมายปลายทาง
๔) ขอความร่วมมือพนักงานขับรถดับเครื่องเมื่อไม่มีผู้โดยสารอยู่ในรถ
๕) มีการรณรงค์การใช้รถยนต์ของหน่วยงานผ่าน application line กลุ่มสมาชิกสำนักงาน
- กำหนดเวลาและวางแผนการใช้เส้นทางก่อนออกเดินทาง
- กรณีขอเดินทางไปราชการเส้นทางเดียวกัน ให้ไปพร้อมกัน
- กำหนดวันเดินทางเช่น ส่งไปรษณีย์ ไปธนาคาร ในทุกวัน จันทร์ พุธ ศุกร์
- พนักงานขับรถตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมใช้งานก่อนออกเดินทางประจำวัน
- ตรวจสภาพเครื่องยนต์ตามวาระ
- มีทางเลือกใช้บริการขนส่งสาธารณะของมหาวิทยาลัย ในการติดต่อหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย แทนการใช้รถหน่วยงาน
- เอกสาร scan
- รูปภาพประกอบ
๓.๒.๕ มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(๓) บรรลุเป้าหมาย
(๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย เปรียบเทียบต่อพื้นที่ หรือเปรียบเทียบต่อระยะทาง เป็นต้น
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ามันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย
เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม
- เอกสารประกอบ
๓.๓ การใช้ทรัพยากรอื่นๆ
๓.๓.๑ มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน
จะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้
(๑) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ
(๒) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ
(๓) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
(๔) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
๓.๓.๑ สร้างความตระหนักให้พนักงานมีส่วนร่วมในการประหยัดกระดาษในสำนักงาน
- มีประกาศ มาตรการประหยัดพลังงาน
- มีการรณรงค์ขอความร่วมมือการใช้อุปกรณ์สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมผ่าน application line กลุ่มสมาชิกสำนักงาน
- มีมาตรการรณรงค์เลือกใช้อุปกรณ์สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- มีการใช้ระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-doc) แทนการใช้กระดาษในการเกษียณหนังสือราชการ
- มีการเชิญประชุมผ่าน อีเมล แทนการทำหนังสือเชิญ ตัวอย่างไฟล์
- มีการจัดเตรียมวาระการประชุมเป็น file online หรือ QR-code ตัวอย่าง file
- มีการตั้งกล่องใส่กระดาษ หน้าเดียว และกระดาษ 2 หน้า
- มีการนำกระดาษหน้าเดียวมาใช้เป็นกระดาษโน๊ต หรือพิมพ์เอกสารที่ไม่เป็นทางการมาใช้ในสำนักงาน
๓.๓.๒ มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

(๓) บรรลุเป้าหมาย (๔) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(๑) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(๒) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
(๓) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย
เช่น เปรียบเทียบต่อจานวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
เอกสารประกอบ
๓.๓.๓ ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการ ประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน
(ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
 
๓.๓.๔ มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับ สำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้
(๑) การสร้างความตระหนักในการใช้
(๒) การกำหนดรูปแบบการใช้
(๓) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
๓.๓.๔ สร้างความตระหนักให้พนักงานมีส่วนร่วมในการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับ สำนักงาน
- มีป้ายรณรงค์การตรวจสอบเอกสารก่อนสั่งพิมพ์
- มีเจ้าหน้าที่ตรวจเช็คเครื่องถ่ายเอกสาร/พิมพ์ ประจำเดือน
- มีมาตรการรณรงค์เลือกใช้อุปกรณ์สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- มีจุดบริการอุปกรณ์สำนักงานส่วนงานที่ใช้ร่วมกัน ในจุดเครื่องถ่ายเอกสาร/พิมพ์
- มีการใช้ระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-doc) แทนการใช้กระดาษในการเกษียณหนังสือราชการ
- มีการเชิญประชุมผ่าน อีเมล แทนการทำหนังสือเชิญ ตัวอย่างไฟล์
- มีการจัดเตรียมวาระการประชุมเป็น file online หรือ QR-code ตัวอย่าง file
- แจ้งเวียนเอกสารออนไลน์(พัลลภ)
๓.๓.๕ ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัด การใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)  
๓.๔ การประชุมและการจัดนิทรรศการ
๓.๔.๑ ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น  
๓.๔.๒ การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้ วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการ ดังนี้
(๑) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุม เหมาะสมกับ จำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ
(๒) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการ ตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยากหรือวัสดุที่ใช้ ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
(๓) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(๔) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้อง ลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์
(๕) การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- มีประกาศกำหนดการใช้ห้องประชุม (ระหว่างดำเนินการออกประกาศ)
- ผู้ดูแลห้องแจ้งให้ผู้ใช้ห้องทราบขนาด จำนวนคนที่เหมาะสมในการใช้ห้อง
- ผู้ดูแลฝ่ายจัดห้องเสนอทางเลือกการใช้ห้องเรียนในแต่ละตึก ให้เหมาะสมกับการเปิดใช้แอร์ประจำตึก
- มีข้อมูลสถิติการใช้ห้องประชุม ในระบบการจองห้อง
- ตกแต่งห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการแบบใช้จอแสดงพื้นหลังงานประชุม
- ประชาสัมพันธ์สื่องานประชุมผ่าน social Facebook ,line
- จัดทำหนังสือเชิญ และวาระการประชุมผ่านอีเมล์ และไฟล์ scan /QR Code
- เน้นแม่บ้านใช้วัสดุบรรจุอาหารที่ผลิตจากธรรมชาติ หรือ อุปกรณ์ จาน ชาม แทนการใช้ถุงพลาสติก รูปภาพประกอบ

 

 

 



Top
We use cookies to improve our website. By continuing to use this website, you are giving consent to cookies being used. More details…